ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์  RBRU e-Research

รายการข้อมูลวิทยานิพนธ์

รายการข้อมูลวิทยานิพนธ์

การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่ส่งผลต่อคุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดระยอง
Dual Vocational Education Management Affecting the Desirable Characteristics of Graduates of Vocational Schools in Rayong Province
อัมพล เจริญนนท์
สาขาการบริหารการศึกษา
คณะครุศาสตร์
วิทยานิพนธ์
2566
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 2) ศึกษา คุีลักษีะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกับคุีลักษีะของผู้สำาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ และ 4) สร้างสมการพยากรี์การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่ส่งผลต่อคุีลักษีะของผู้สำเร็จ การศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์เป็นการวิจัยเชิงปริมาี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และตัวแทนสถานประกอบการ สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดระยอง จำนวน 269 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ใช้การสุ่มแบบแบ่งช้้ั้นตามสัดส่วนโดยใช้ที่ตั้งของสถานศึกษาเป็นชั้นของการแบ่ง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 แบบสอบถามการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95 และ ตอนที่ 3 แบบสอบถามคุณลักษณะของผู้เร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยอย่าง่าย
The objectives of this research were to: 1) study the dual vocational education management, 2) study the desirable characteristics of vocational school graduates, 3) study the relationship between the dual vocational education management and the desirable characteristics of vocational school graduates, and 4) create a forecasting equation for the dual vocational education management affecting the desirable characteristics of vocational school graduates. This was quantitative research. The sample used in this research was a group of 269 school administrators, teachers and other stakeholders in these schools. The size of the sample was determined by using Krejcie and Morgan’s tables, and proportional stratified random sampling was applied using the location of the school as the strata. The research instrument was a 5-rating scale questionnaire divided into 3 parts. Part 1 collected the personal data of the respondents; Part 2 was about the dual vocational education management and had a confidence value of 0.95; and Part 3 was about the desirable characteristics of vocational school graduates and had a confidence value of 0.95. The statistics used in the data analysis were: mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient and simple regression analysis.
การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี, คุณลักษีะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์, อาชีวศึกษาจังหวัดระยอง
Dual Vocational Education Management, Characteristics of Desirable Vocational Graduates, Vocational Schools in Rayong Province
เจียมจิต บวชไธสง แก้ไขล่าสุด 2024-01-15 13:22:51