ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์  RBRU e-Research

รายการข้อมูลวิทยานิพนธ์

รายการข้อมูลวิทยานิพนธ์

การปฏิสัมพันธ์ระหว่างทุนเศรษฐกิจ ทุนสังคมและทุนการเมืองในกระบวนการเลือกตั้งท้องถิ่น : กรณีศึกษาเทศบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก
Interaction of economic, social, and political capital in the local election process : A case study of one municipality in the eastern Thailand
เสฎฐวุฒิ ป๊อกตัง
สาขาการปกครองท้องถิ่น
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
ภาคนิพนธ์
2558
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิสัมพันธ์ระหว่างทุนเศรษฐกิจ ทุนสังคมและทุนการเมืองในกระบวนการเลือกตั้ งท้องถิ่นของเทศบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก วิธีการศึกษาจะใช้วิจัยเชิงคุณภาพแนวประวัติศาสตร์ โดยใช้เอกสารชั ้นต้น การสังเกตการณ์และการสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth Interview) ผลการวิจัย พบว่า ทุนเศรษฐกิจ ทุนสังคมและทุนการเมืองของผู้สมัครรับเลือกตั้ งนายกเทศมนตรีเทศบาลดังกล่าว แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มอํานาจอดีตนายก และกลุ่มอํานาจอดีตกำนัน ส่วนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างฐานทางเศรษฐกิจและโครงสร้างอํานาจกับกระบวนการเลือกตั้ งนายกเทศมนตรี พบว่า จากการเลือกตั้ งนายกเทศมนตรีโดยตรงที่ผ่านมาทั้ งหมดรวม 3 ครั้งนั้ น ในการเลือกตั ้งครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ไม่มีผู้ลงสมัครรับเลือกตั ้งแข่งขันกับกลุ่มอํานาจอดีตนายก แต่ในการเลือกตั ้งครั ้งที่ 3 มีกลุ่มอํานาจอดีตกำนันลงสมัครรับเลือกตั้ งนายกเทศมนตรีแข่งกับกลุ่มอํานาจอดีตนายก ดังนั้ นจึงเกิดการแข่งขันทางการเมืองที่ต้องอาศัยทุนเศรษฐกิจ ทุนสังคมและทุนการเมือง
The purpose of this research was to study interaction of economic, social, and political capital in the local election process of a municipality in the eastern Thailand. The qualitative historical research was employed by the use of primary sources, participatory observation, and in-depth interview. The research findings identified the 2 major political groups of the mayoral candidates : old power structures of the former mayors and sub-district headmen. The interaction between the economic bases and structure of authority in the process of mayoral elections revealed the following results. According to the 3 elections for the mayor, there were no candidates completing with the group of the former mayors in the first and second elections. However in the third election, the group of the previous sub-district headmen became rival candidates of the former mayors. Therefore, the political competition based on the economic, social, and political capital were arisen in the mayoral elections.
การเลือกตั้ง, ทุนเศรษฐกิจ, ทุนสังคม, ทุนการเมือง
Election, Economic capital, Social capital, Political capital
อินธิรา สังคีรี แก้ไขล่าสุด 2016-03-10 10:24:02