ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์  RBRU e-Research

รายการข้อมูลวิทยานิพนธ์

รายการข้อมูลวิทยานิพนธ์

แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในพื้นที่ นำร่องนวัตกรรมการศึกษา จังหวัดระยอง
Guidelines for digital leadership development of School Administrators in the Education Sandbox Area, Rayong Province
นุจรินทร์ สายพิณ
สาขาการบริหารการศึกษา
คณะครุศาสตร์
วิทยานิพนธ์
2567
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาสถานการณการบริหารสถานศึกษาในพื้นที่นำร่องนวัตกรรมการศึกษา จังหวัดระยอง 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารสถานศึกษาในพื้นที่นำร่องนวัตกรรมการศึกษา จังหวัดระยอง และ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อบริหารสถานศึกษาในพื้นที่นำรองนวัตกรรมการศึกษา จังหวัดระยอง การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน มีวิธีดำเนินการวิจัยโดยการรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ และ เชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุมตัวอย่าง ได้แก ครู และบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาในพื้นที่นำรองนวัตกรรมการศึกษา จำนวน 346 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน และรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพประกอบด้วย 1) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการบริหารการศึกษาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2) การสัมภาษณ์เชิงลึกโดยมีผู้ใหข้อมูลเชิงลึก จำนวน 10 คน และ 3 ) การสนทนากลุมมีผู้ให้ข้อมูล จำนวน 10 คน เป็นการเลือกแบบเจาะจงมีเกณฑการคัดเลือก ได้แก 1) มีประสบการณทำงาน 2 ป 2) เป็นผู้มีสวนเกี่ยวของกับการบริหาร 2 ป และ 3) มีความยินดีใหข้อมูล โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใชในการสัมภาษณ์เชิงลึก และสนทนากลุมจะไม่ซ้ำกันวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และตรวจสอบด้วยเทคนิคสามเสา
The purposes of this study were to: 1) study the school administrations of schools in the education sandbox area of Rayong Province, 2) study the relationship between the guidelines for digital leadership development of school administrators and school administrations in the education sandbox area of Rayong Province, and 3) propose guidelines for digital leadership development of school administrators for school administrators to enhance school administrations in the education sandbox area of Rayong Province. The research employed a mixed-methods approach. A questionnaire was used as the research instrument to collect quantitative data. The sample was a group of 346 teachers and educational personnel from schools in the education sandboxarea of Rayong Province. The statistics used for data analysis were: mean, standard deviation, and Pearson correlation coefficient. Qualitative data were collected by: 1) analyzing documents and studies about school administrations in the education sandbox area; 2) conducting in-depth interviews with 10 participants; and 3) holding a focus group discussion with 10 key informants selected based on the following criteria: 3.1) having at least 2 years of work experience, 3.2) being involved in a school administration for 2 years, and 3.3) being willing to provide information. The individuals in the group for in-depth interviews were not the same as those in the focus group discussion. The content was analyzed and cross-checked using triangulation techniques.
ภาวะผู้นำดิจิทัล, ผู้บริหารสถานศึกษา, พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
Digital Leadership, School Administrator, Education Sandbox Area
เจียมจิต บวชไธสง แก้ไขล่าสุด 2025-06-23 14:12:49