ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์  RBRU e-Research

รายการข้อมูลวิทยานิพนธ์

รายการข้อมูลวิทยานิพนธ์

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา กับการบริหารวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ระยอง
A Study of the Relationship between Managerial skills of School Administrators and Academic Administration of School under the Office of Rayong Primary Educational Service Area
คาวี เจริญจิตต์
สาขาการบริหารการศึกษา
คณะครุศาสตร์
วิทยานิพนธ์
2556
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา และการบริหารวิชาการของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู ผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาระยอง และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหาร สถานศึกษากับการบริหารวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง ปีการศึกษา 2556 จํานวน 341 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม 1 ฉบับ แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา จํานวน 30 ข้อ ตอนที่ 2 แบบสอบถามการบริหารวิชาการของสถานศึกษาจํานวน 68 ข้อ การหาคุณภาพของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ C แอลฟา (Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาเท่ากับ 0.88 ได้ค่าอํานาจจําแนกของแบบสอบถาม ตั้งแต่ 0.40 - 0.66 และได้ค่าความเชื่อมั่นการบริหารวิชาการของสถานศึกษาเท่ากับ 0.87 ได้ค่าอํานาจจําแนกของแบบสอบถามตั้งแต่ 0.31 - 0.74 และได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ C แอลฟา และค่าสัมประสิทธิ C สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
The objectives of this research were to study the managerial skills of the school administrators and the academic administration from the viewpoints of teachers in the schools under the control of the Office of Rayong Primary Educational Service and to study the relationship between the managerial skills of the schools’ management and the academic administration of the schools under the Office of Rayong Primary Educational Service. The research samples were 341 teachers whom have operated within the responsible areas of the Office of Rayong Primary Educational Service during the academic year of 2013. The research data collection tools were the 2 - part questionnaire forms in which the firstpart contained 30 questions that specifically asked about the managements skills of the administrators,whereas, the second part was designed to gather information about the academic administration of the schools and it contained 68 questions. In order to determine the quality of the questionnaire forms, the values of Alpha coefficient were calculated which yielded the reliability value for the management skills of the administrators of 0.88 and the value of corrected item - total correlation ranging from 0.40 - 0.66 and the reliability value for the schools’ academic administration of 0.87 and its value of corrected item - total correlation ranging from 0.31 - 0.74 and the total reliability value for both questionnaire forms was at 0.95. Statistical tools used in the research included the values of average, statistic deviation, Alpha coefficient, and Pearson’s product moment correlation.
การบริหาร,วิชาการ
Managerial,Academic
แก้ไขล่าสุด 2015-10-01 15:59:32